Page 5 - การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ "การพัฒนากฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ"
P. 5
• 1) พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547
• มาตรา 22 บัญญัติว่า “เพื่อประโยชน์ในการประสานงานการปฏิบัติงานป้องกันและปราบปรามการกระท าความผิดเกี่ยวกับคดีพิเศษ ให้
กคพ. มีอ านาจออกข้อบังคับการปฏิบัติหน้าที่ในคดีพิเศษระหว่างหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
• (1) วิธีปฏิบัติระหว่างหน่วยงานเกี่ยวกับการรับค าร้องทุกข์หรือค ากล่าวโทษ ......ในระหว่างหน่วยงานของรัฐที่มีอ านาจหน้าที่ป้องกัน
และปราบปรามการกระท าความผิดอาญา”
• 2) ข้อบังคับ กคพ. ว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่ในคดีพิเศษระหว่างหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง พ.ศ. 2547
• อาศัยอ านาจตามความในมาตรา 22 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 กคพ. จึงออกข้อบังคับไว้
ดังต่อไปนี้
• ข้อ 4 ให้กรมสอบสวนคดีพิเศษรับค าร้องทุกข์ หรือค ากล่าวโทษ ในคดีความผิดอาญาอันเป็นคดีพิเศษเท่านั้น
• กรณีที่มีการร้องทุกข์ หรือกล่าวโทษในการกระท าความผิดอาญาอันเป็นคดีพิเศษตามความในวรรคหนึ่งต่อพนักงานสอบสวนของ
ส านักงานต ารวจแห่งชาติหรือเจ้าหน้าที่ผู้มีอ านาจสืบสวนสอบสวนของหน่วยงานอื่นของรัฐ ให้พนักงานสอบสวนหรือเจ้าหน้าที่ผู้มีอ านาจ
สืบสวนสอบสวนนั้น ด าเนินการรับค าร้องทุกข์ ค ากล่าวโทษ ด าเนินการสืบสวนสอบสวน และด าเนินการอื่น ตามอ านาจหน้าที่จนกว่าจะมีการ
ส่งมอบส านวนการสืบสวนสอบสวนให้กรมสอบสวนคดีพิเศษ