Page 63 - การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ "การพัฒนากฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ"
P. 63
มาตรา พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. ๒๕๔๗ ร่างพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ (ฉบับที่ ..) หลักการและเหตุผล
พ.ศ. ....
23/2 ในกรณีที่มีการร้องทุกข์ หรือกล่าวโทษในการ เพิ่มเติมบัญญัติเรื่องอำนาจในการ
กระทำความผิดอาญาอันเป็นคดีพิเศษต่อพนักงาน รับคำร้องทุกข์ให้มีความชัดเจนและ
สอบสวนของสำนักงานตำรวจแห่งชาติหรือเจ้าหน้าที่ผู้มี สอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติของกอง
อำนาจสืบสวนสอบสวนของหน่วยงานอื่นของรัฐ ให้ บริหารคดีพิเศษที่เป็นหน่วยงานที่มี
พนักงานสอบสวนหรือเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจสืบสวน หน้าที่ในเรื่องการรับคำร้องทุกข์ ซึ่งใน
สอบสวนนั้น ดำเนินการรับคำร้องทุกข์ คำกล่าวโทษ กรณีที่มีคำร้องขอในความผิดอันยอม
ดำเนินการสืบสวนสอบสวน และดำเนินการอื่นตามอำนาจ ได้ก็จะมีการแจ้งให้ผู้เสียหายร้องทุกข์
หน้าที่จนกว่าจะมีการส่งมอบสำนวนการสืบสวนสอบสวน เสียก่อน และหากภายหลังการสืบสวน
ให้กรมสอบสวนคดีพิเศษ ข้อเท็จจริงพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ
ในกรณีเป็นคำร้องขอที่ประชาชนและหน่วยงาน พบว่าคดีดังกล่าวไม่ใช่คดีอาญาที่มี
ร้องขอให้กรมสอบสวนคดีพิเศษดำเนินการในเรื่องทาง ลักษณะเป็นคดีพิเศษ ก็ให้กรม
อาญา หากพิจารณาแล้วเห็นว่าคำร้องขอดังกล่าวไม่ใช่ สอบสวนคดีพิเศษ ดำเนินการประสาน
คดีอาญาที่มีลักษณะเป็นคดีพิเศษ ให้กรมสอบสวนคดี และส่งเรื่องให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
พิเศษ ดำเนินการประสานและส่งเรื่องให้หน่วยงานที่ ดำเนินการสอบสวนต่อไป
เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการสอบสวนต่อไป ทั้งนี้ ให้เป็นไป
ตามข้อบังคับที่ กคพ. กำหนด
ให้กรมสอบสวนคดีพิเศษรับคำร้องทุกข์ หรือคำ
กล่าวโทษ ในคดีความผิดอาญาอันเป็นคดีพิเศษเท่านั้น
24 เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ แก้ไขโดยตัดคำว่า “คดีพิเศษ” ใน (1)
นี้ ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษมีอำนาจดังต่อไปนี้ด้วย นี้ ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษมีอำนาจดังต่อไปนี้ด้วย และ (2) ออก เพื่อให้พนักงานสอบสวน