Page 300 - 2556_025
P. 300

139







                       _____________________________________________________________________________
                       เรื่องที่  4.1.1  กิจกรรมการเทียบศักราชและการนับช่วงเวลา


                                              ในวิชาประวัติศาสตร์




                              การให้นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับล าดับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ (chronology) จะช่วยให้

                       นักเรียนเกิดความเข้าใจเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง  อย่างเป็นเหตุเป็นผล
                       และยังสามารถท าให้นักเรียนจดจ าเหตุการณ์ส าคัญ ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงในประวัติศาสตร์ได้อีก

                       ด้วย  กิจกรรมการเรียนการสอนนี้ช่วยท าให้ผู้เรียนสามารถสร้างสถานการณ์ให้สอดคล้องกับสิ่งที่

                       เกิดในอดีต และเชื่อมโยงเหตุการณ์เหล่านั้นมาสู่ปัจจุบัน
                              การให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับล าดับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์  มีกิจกรรมอยู่หลาย

                       กิจกรรมด้วยกัน  แต่กิจกรรมที่ส าคัญที่ควรให้ผู้เรียนต้องเรียนรู้ก่อนเพื่อเป็นพื้นฐานของความเข้าใจ

                       ล าดับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์  คือ  ค าศัพท์  การเทียบศักราช  และการนับช่วงเวลา  ในการเรียน
                       การสอนวิชาประวัติศาสตร์



                       1.  ค าศัพท์เกี่ยวกับการนับเวลาและการแบ่งช่วงเวลา

                              ครูควรอธิบายค าศัพท์เกี่ยวกับการนับเวลาและการแบ่งช่วงเวลา  ได้แก่

                                   1)  วัน เดือน ปี  ตามระบบสุริยคติที่ปรากฎในปฏิทินที่ใช้ในชีวิตประจ าวัน

                       ตัวอย่างเช่น

                                 -  วันที่  13  เมษายน  พ.ศ. 2552  หรือ
                                 -  วันที่  1  มกราคม   ค.ศ.  2009

                              2)  วัน  เดือน  ปี ตามระบบจันทรคติ  ที่ปรากฏในปฏิทิน  ตัวอย่างเช่น

                                 -  วันอังคาร ขึ้น 15 ค่ า  เดือน 8  ปีฉลู  เอกศก  ตรงกับ วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
                              3)  การนับศักราช  ที่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ทั่วไป  เป็นต้นว่า

                                  -  สมัยก่อนพุทธกาล

                                 -  พุทธศักราช  (พ.ศ. – B.E.  Buddhist Era)
                                 -  สมัยก่อนคริสตกาล  (B.C.  -  Before Christ)

                                 -  คริสต์ศักราช  (ค.ศ. -  A.D.  Anno Domini -  the year of the Lord)

                                 -  ฮิสเราะห์  (ฮ.ศ. -  A.H. -  Anno  Hegirae – in the year of the Hijra)
   295   296   297   298   299   300   301   302   303   304   305