Page 44 - การพัฒนาเครือข่ายการจัดการภัยพิบัติด้านน้ำและการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของชุมชนในลุ่มน้ำ ปิง วัง ยม น่าน และเจ้าพระยาตอนบน
P. 44

SWOT ของลุ่มน ้าป ิ ง วัง ยม น่าน และเจ้าพระยาตอนบน



    1. ผู้น าชุมชน - มีวิสัยทัศน์ มีความเสียสละ มีความรู้                                     1. ผู้น าชุมชน – ขาดการสร้างผู้น าชุมชน เยาวชนคน
                                                                                                 รุ่นใหม่ในการดูแลทรัพยากรน ้าของชุมชน
    2. สมาชิก - มีจิตอาสา มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ                                          2. สมาชิก – แต่ละชุมชนมีที่มาแตกต่างกัน สภาพปัญหา

               ประสบการณ์ร่วมกัน                                                                 และบริบทแตกต่างกัน รวมถึงขาดแรงจูงใจการเข้า
             - มีกรรมการลุ่มน ้าเป็นสมาชิกเครือข่าย                                              ไปมีส่วนร่วมกัน
    3. ชุมชนและสภาวะแวดล้อม                                                                   3. ชุมชนและสภาวะแวดล้อม

      - มีองค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น                                                          - ชุมชนส่วนใหญ่ไม่มีการจัดท าฐานข้อมูลด้านน ้า
      - มีกฎระเบียบที่เหมาะสมตามแต่ละพื้นที่       S                                 W           - ขาดการจัดท าแผนงาน/กิจกรรมของเครือข่าย

      - มีการรวมกลุ่มกันเป็นกลุ่มผู้ใช้น ้า                                                        การเชื่อมโยงในการบริหารจัดการทรัพยากรน ้า



                                                                   SWOT                       1. นโยบายของรัฐ
   1. นโยบายของรัฐ
      - มีนโยบายในการบริหารจัดการลุ่มน ้าอย่าง                                                   -ขาดความชัดเจนในบทบาทของลุ่มน ้าสาขาย่อย
                                                                                                 - ปัญหาเอกสารสิทธิ์ของชุมชนกับพื้นที่ป่า
     เป็นระบบ และมีพระราชบัญญัติน ้าที่เอื้อกัน                                               2. หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
   2. หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน                   O                                    T         - หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายหน่วยงานยังขาดการ

      - ภาครัฐให้ความส าคัญในการพัฒนาแหล่ง                                                      ท างานแบบบูรณาการแผนและท างานร่วมกัน
   น ้าและการจัดหาน ้า                                                                           -กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ป่าและ
      - ภาคเอกชนเข้ามาหนุนเสริมการท างานของ                                                     ทรัพยากรยังล้าสมัย ไม่เอื้อให้ชุมชนเข้าไปใช้

   ชุมชนบริหารจัดการทรัพยากรน ้า (CSR)                                                          ประโยชน์ และพัฒนาพื้นที่
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49