Page 54 - การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ "การพัฒนากฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ"
P. 54
มาตรา พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. ๒๕๔๗ ร่างพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ (ฉบับที่ ..) หลักการและเหตุผล
พ.ศ. ....
(๒) คดีความผิดทางอาญาอื่นนอกจาก (๑) ตามที่ (๒) คดีความผิดทางอาญาอื่นนอกจาก (๑) ตามที่
กคพ. มีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของ กคพ. มีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของ
กรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ กรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
ในคดีที่มีการกระทำอันเป็นกรรมเดียวผิดต่อกฎหมาย ในคดีที่มีการกระทำอันเป็นกรรมเดียวผิดต่อกฎหมาย
หลายบท และบทใดบทหนึ่งจะต้องดำเนินการโดย หลายบท และบทใดบทหนึ่งจะต้องดำเนินการโดย
พนักงานสอบสวนคดีพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้ หรือคดี พนักงานสอบสวนคดีพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้ หรือคดี
ที่มีการกระทำความผิดหลายเรื่องต่อเนื่องหรือเกี่ยวพันกัน ที่มีการกระทำความผิดหลายเรื่องต่อเนื่องหรือเกี่ยวพันกัน
และความผิดเรื่องใดเรื่องหนึ่งจะต้องดำเนินการโดย และความผิดเรื่องใดเรื่องหนึ่งจะต้องดำเนินการโดย
พนักงานสอบสวนคดีพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ พนักงานสอบสวนคดีพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้
พนักงานสอบสวนคดีพิเศษมีอำนาจสืบสวนสอบสวน ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษมีอำนาจสืบสวนสอบสวน
สำหรับความผิดบทอื่นหรือเรื่องอื่นด้วย และให้ถือว่าคดี สำหรับความผิดบทอื่นหรือเรื่องอื่นด้วย โดยให้ถือว่าคดี
ดังกล่าวเป็นคดีพิเศษ ดังกล่าวเป็นคดีพิเศษ และให้อธิบดีมีอำนาจในการวินิจฉัย
บรรดาคดีใดที่ได้ทำการสอบสวนเสร็จแล้วโดย ชี้ขาด
พนักงานสอบสวนคดีพิเศษ ให้ถือว่าการสอบสวนนั้นเป็น บรรดาคดีใดที่ได้ทำการสอบสวนเสร็จแล้วโดย
การสอบสวนในคดีพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้แล้ว พนักงานสอบสวนคดีพิเศษ ให้ถือว่าการสอบสวนนั้นเป็น
บทบัญญัติในมาตรานี้ให้ใช้บังคับกับบุคคลที่เป็น การสอบสวนในคดีพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้แล้ว
ตัวการ ผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุนการกระทำความผิดด้วย บทบัญญัติในมาตรานี้ให้ใช้บังคับกับบุคคลที่เป็น
ในกรณีที่มีข้อโต้แย้งหรือข้อสงสัยว่าการกระทำ ตัวการ ผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุนการกระทำความผิดด้วย
ความผิดใดเป็นคดีพิเศษตามที่กำหนดไว้ในวรรคหนึ่ง (๑)
หรือไม่ ให้ กคพ. เป็นผู้ชี้ขาด