Page 55 - การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ "การพัฒนากฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ"
P. 55
มาตรา พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. ๒๕๔๗ ร่างพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ (ฉบับที่ ..) หลักการและเหตุผล
พ.ศ. ....
ในกรณีที่มีข้อโต้แย้งหรือข้อสงสัยว่าการกระทำ
ความผิดใดเป็นคดีพิเศษตามที่กำหนดไว้ในวรรคหนึ่ง (๑)
หรือไม่ ให้ กคพ. เป็นผู้ชี้ขาด
การสอบสวนตามมาตรานี้จะต้องเป็นการสอบสวนโดย
ไม่ชักช้าและมีระยะเวลาการสอบสวนตามที่ กคพ. กำหนด
21/1 ในกรณีที่ผู้กระทำความผิดอันเป็นคดีพิเศษตาม ในกรณีที่ผู้กระทำความผิดอันเป็นคดีพิเศษตาม แก้ไขให้สอดคล้องกับร่างแก้ไข
พระราชบัญญัตินี้เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมิได้เป็นบุคคล พระราชบัญญัตินี้เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือบุคคลอื่นใดใน กฎหมายที่กรมสอบสวนคดีพิเศษกำลัง
ตามมาตรา ๖๖ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ความผิดที่อยู่ในหน้าที่และอำนาจของคณะกรรมการ ดำเนินการ
ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติตามกฎหมาย
และอยู่ในอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการ
ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ให้พนักงานสอบสวนคดี ทุจริต ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษส่งเรื่องไปยัง
พิเศษส่งเรื่องไปยังคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
การทุจริตแห่งชาติภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีการร้อง ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับการร้องทุกข์หรือ
ทุกข์หรือกล่าวโทษ กล่าวโทษ
ในระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการป้องกัน ในคดีพิเศษที่มีการกระทำอันเป็นกรรมเดียวผิดต่อ
และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หากคณะกรรมการ กฎหมายหลายบทและบทใดบทหนึ่งอยู่ในหน้าที่และ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติยังมิได้มีมติ อำนาจของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
อย่างใดอย่างหนึ่งให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษมีอำนาจ แห่งชาติและคดีพิเศษที่มีการกระทำความผิดเกี่ยวข้องกัน
ทำการสอบสวนไปพลางก่อนได้ และความผิดเรื่องใดเรื่องหนึ่งซึ่งอยู่ในหน้าที่และอำนาจ
ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต